วันศุกร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2555

อัพเดตjhcis version 3 ธ.ค.55

อัพเดตjhcis version 3 ธ.ค.55
www.jhcis.net


ดาวน์โหลด ชุดอัพเดท J H C I S (3 ธค. 55)

Moderator: dunyawatnatjhcischanthipjumsumritspopjariyaneowara

ดาวน์โหลด ชุดอัพเดท J H C I S (3 ธค. 55)

โพสต์โดย jhcis » 25 เม.ย. 2011 13:08
 jhcis-server-update-2.2.20121203.52.exe
jhcis server 3 ธค.55
(89.82 MiB) ดาวน์โหลด 8493 ครั้ง
 jhcis-client-update-2.2.20121203.52.exe
jhcis client 3 ธค.55
(89.82 MiB) ดาวน์โหลด 6427 ครั้ง
เว็บบอร์ด: http://webboard.moph.go.th
อีเมล์: jhcis@windowslive.com
โทร: 084-4267237, 02-5901204, 02-5901209
อ.สัมฤทธิ์ 081-8017543 อีเมล์: sumrit.hshf@gmail.com
===============================================================================
***หากพบข้อความที่แจ้งเตือนว่า ไม่มี jre 1.7 กรุณาดำเนินการดังนี้***
1. ติดตั้งชุดอัพเดทนี้ก่อน
JHCIS-SERVER
http://app.moph.go.th/downloads/jhcis-s ... h-jre7.exe
(JHCIS-SERVER + JRE7 Installation + folder jre7 อยู่ภายใต้ folder JHCIS กับ JHCIS ขนาดประมาณ 117MB)
JHCIS-CLIENT
http://app.moph.go.th/downloads/jhcis-c ... h-jre7.exe
(JHCIS-CLIENT + JRE7 Installation + folder jre7 อยู่ภายใต้ folder JHCIS ขนาดประมาณ 117MB)
2. แล้วจึงติดตั้งชุดอัพเดทด้านล่าง

===============================================================================
What's new in Version 2.2.20121203.52
===============================================================================

 jhcis-server-update-2.2.20121203.52.exe
jhcis server 3 ธค.55
(89.82 MiB) ดาวน์โหลด 8493 ครั้ง


 jhcis-client-update-2.2.20121203.52.exe
jhcis client 3 ธค.55
(89.82 MiB) ดาวน์โหลด 6427 ครั้ง


ระบบบันทึกข้อมูล
1. บันทึกตรวจโภชนาการได้ทุกวันทุกเดือน แต่จะส่งออกในแฟ้ม nutrition เพียง 4 เดือน คือ กค /ตค /มค และ เมย ดังนี้
1.1 สำหรับอายุแรกเกิด - 60 เดือน จะส่งออกใน 4 เดือน กค ,ตค ,มค และ พค
1.2 สำหรับอายุ 61 - 168 เดือน จะส่งออกใน 2 เดือน กค และ มค
โดยอายุคิดจากวันเกิด ถึงวันตรวจโภชนาการ ดังนั้น ท่านสามารถดูและใช้ประโยชน์จากข้อมูลโภชนาการ ในฐานข้อมูล JHCIS ของท่านได้ในทุกครั้งที่บันทึกข้อมูลไว้ แต่หากจังหวัดหรือหน่วยงานใดๆ จะใช้ประโยชน์จากแฟ้ม nutri ในระบบ 21 แฟ้ม(เช่น ในฐานข้อมูล Provis Service) จะใช้ ได้เฉพาะ 4 เดือนดังกล่าวข้างต้น เท่านั้น (ข้อมูลที่ไม่ใช่ 4 เดือนนี้ถ้าส่งออกมาจะถูกตีความเป็น Error หมด )
2. ข้อควรรู้และพึงระวังเกี่ยวกับแฟ้ม nutri คือ
A1. เฉพาะการบันทึกโภชนาการในเมนูการให้บริการ(วันนี้หรือบริการย้อนหลัง) เท่านั้นที่สามารถบันทึกฯ ได้ทุกวันทุกเดือน …แต่สำหรับการบันทึกโภชนาการที่เมนู เด็ก 0 – 72 เดือน ชั่งน้ำหนักฯ จะบันทึกฯ ได้เฉพาะตามกฏเกณฑ์แฟ้ม nutri (โภชนาการ) ของ สปสช ในปี งปม 2556 ( กค 2555 – มิย 2556) คืออายุ ไม่เกิน 60 เดือน บันทึกได้เพียง 4 เดือน(ตามข้อ 1.1 และอายุ 61 – 168 เดือน บันทึกได้เพียง 2 เดือนตามข้อ 1.2)
B1. ควรส่งข้อมูล 21 แฟ้มเป็นรายเดือน
C1. หากมีการส่งออก 21 แฟ้มมากกว่า 1 ครั้ง/เดือน( เช่น ส่งทุกสัปดาห์) …ผู้ใช้ฯ ต้องระมัดระวังว่าในสัปดาห์ก่อนของเดือนเดียวกันนั้น ได้มีการส่งข้อมูลโภชนาการของเด็กนั้นๆ ออกไปแล้วหรือไม่? หากมีการส่งออกไปแล้ว !... ในสัปดาห์นี้ห้ามบันทึกโภชนาการของเด็กรายนั้นอีก เพราะหากทำเช่นนี้ จะมีข้อมูลโภชนาการของเด็กคนนี้ ออกไปเป็นครั้งที่ 2 ในเดือนเดียวกัน !...ซึ่งจะกลายเป็นข้อมูลซ้ำซ้อนและ Error ทันที (การตรวจสอบฯ ว่ามีการส่งข้อมูลออกไปแล้วหรือไม่ ก่อนหน้านี้ในเดือนและปีเดียวกัน เป็นเรื่องที่ยุ่งยากอย่างยิ่งและระบบฯ ยังไม่สามารถตรวจสอบได้ในขณะนี้) ตัวอย่าง เช่น
- ดช. X อายุ 3 ปี บันทึกโภชนาการวันที่ 2 มค 2556 จากนั้นเมื่อถึงวันที่ 5 มค 2556 มีการส่งออก 21 แฟ้มช่วง 1 – 5 มค 2556 ออกไป(ส่งสัปดาห์ละครั้ง) ก็จะมีข้อมูลโภชนาการของ ดช X ออกไป
- ต่อมวันที่ 11 มค 2556 มีการบันทึกโภชนาการให้ ดช X อีกครั้ง แล้ววันที่ 12 มค 2556 ก้มีการส่งออก 21 แฟ้มช่วง 7 – 12 มค 2556 ออกไปอีกครั้ง(ส่งสัปดาห์ที่สองของเดือนเดียวกัน) ก็จะมีข้อมูลโภชนาการของ ดช X ออกไปอีกครั้ง !!!... ซึ่งจะกลายเป็นข้อมูลซ้ำซ้อน และ Error ทันที(เพราะ สปสช ถือว่าเป็นข้อมูลโภชนาการคนและเดือนเดียวกัน)
D1. ไม่ควรระบุช่วงวันที่ส่งแบบข้ามงวดรายไตรมาส และข้ามปีปฏิทิน เช่น วันที่ 15 กย 2555 ถึง 31 ตค 2555(ข้ามไตรมาส) หรือ วันที่ 1 พย 2555 ถึง 31 มค 2556 (ข้ามทั้งไตรมาส และข้ามปีปฏิทินด้วย)
3. เพิ่มรหัสการตรวจแล็ปอีก 3 รหัสฯ ( ซึ่งเดิมยังไม่มีใน JHCIS ) เพื่อให้บันทึกการตรวจแล็ปได้ครอบคลุมทั้ง 21 รหัสการตรวจแล็ป สำหรับส่งออกในแฟ้ม labfu ได้แก่
- eGFR
- UPCR
- PTH
โดยสามารถบันทึกได้ที่เมนูการให้บริการ /แทร็บ ข้อมูลเบื้องต้น(แทร็บแรกซ้ายสุด) /คลิ้กที่ปุ่มฯ แฟ้ม labfu( ทั้งหมด 17 รหัสแล็ป + อีก 4 รหัส ( 01-04 DTX ,FBS ) ที่บันทึกผ่านการตรวจคัดกรองน้ำตาล รวมเป็น 21 รหัสแล็ป)
การบันทึกการตรวจแล็ป ที่นอกเหนือจาก 21 รหัสดังกล่าว ให้ไปบันทึกที่แทร็บ ตรวจมะเร็ง & บริการอื่น /คลิ้กที่ปุ่มฯ การตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่น (….)
4. ปรับการส่งออกในแฟ้ม chronicfu และ labfu ให้ส่งออกฯ สำหรับผู้ป่วยเรื้อรังในกลุ่มโรคเบาหวาน และ/หรือความดันสูง เท่านั้น โดยหากมิใช่ผู้ป่วยในสองกลุ่มโรคเรื้อรังดังกล่าว(กลุ่มเบาหวาน หรือความดันสูง) แม้จะมีข้อมูลใน chonicfu และใน labfu ก็จะไม่ถูกส่งออกมาในสองแฟ้มนี้( ถ้าส่งออกมาฯ จะกลายเป็น Error )
5. ข้อควรรู้และพึงระวังเกี่ยวกับแฟ้ม chronicfu และ labfu คือ
A4 . การบันทึกข้อมูลใน chronicfu และ labfu พึงระวังโดยให้บันทึกได้ไม่เกิน 1 ครั้งต่อคนต่อเดือนเท่านั้น(..ทั้งนี้ระบบฯ อนุญาตให้บันทึกข้อมูลฯ ได้มากกว่า 1 ครั้งต่อคนต่อเดือน โดยมิได้แจ้งเตือนหากมีการบันทึกฯ มากกว่า 1 ครั้งฯ …แต่ โปรแกรม OP / PP จะฟ้อง Error หากมีการส่งออกฯ มากกว่า 1 ครั้งต่อคนต่อเดือน(…แม้ใน slide กติกา สปสช จะระบุการตรวจสอบความซ้ำซ้อนจาก pcucode ,CID และ DATE_SERV …แต่การตรวจสอบความซ้ำซ้อนฯ โดยโปรแกรม OP /PP ใช้เดือนของ DATE_SERV …ดังนั้นแม้ค่า DATE_SERV จะต่างกัน แต่ถ้าอยู่ในเดือนเดียวกันและคนเดียวกัน ก็จะ Error เป็นข้อมูลซ้ำซ้อน ): ตรวจยืนยันจากโปรแกรม OP/PP ล่าสุดของ สปสช เมื่อ 7 พย 55 )
B4. หากมีการส่งออก 21 แฟ้มก็ยิ่งต้องระมัดระวังในการบันทึกข้อมูลฯ ในทำนองเดียวกับแฟ้ม nutri ในข้อ c1.
6. แก้ไขการส่งออกแฟ้ม appoint จะไม่ส่งออกฯ ถ้าไม่ระบุวันนัดหรือค่าวันนัดเป็น ‘0000-00-00’ (เดิมถ้าไม่ระบุวันนัดหรือค่าวันนัดเป็น ‘0000-00-00’ จะส่งออกมาใน apdate เป็นค่าว่าง ซึ่งจะ Error เมื่อตรวจด้วยโปรแกรม OP /PP)
7. ปรับเพิ่มให้บันทึกค่า เพื่อให้ส่งออกในแฟ้ม drugallergy (การแพ้ยาฯ) ในระบบ 43 แฟ้มดังนี้
3.1 เพิ่มการบันทึกวันที่พบว่าแพ้ยา( Date )
3.2 ปรับระดับการแพ้ฯ เป็น 8 ระดับ (เดิมมี 3 ระดับ)
8. แก้ปัญหา Error ที่อยู่ที่ติดต่อได้จริง หายไป เมื่อมีการเรียกข้อมูลคน มาดูที่อยู่ที่ติดต่อได้จริงแม้ไม่แก้ไขอะไรเลย ข้อมูลที่อยู่ที่ติดต่อได้จริง ก็หาย โดยแก้ไขให้ (ข้อมูลฯ ไม่หาย) แล้วจากการดำเนินการดังกล่าว
9. ปรับโพรเซสของหน้าบริการ ตอนส่งคนเข้ารับบริการ ให้มี Option เลือกว่า ดังนี้
9.1 แบบ default data minimum(…ส่งเข้ารับบริการได้เร็ว แต่จะได้ค่าเริ่มต้นของข้อมูลน้อย)
9.2 แบบ default data maximum(…ส่งเข้ารับบริการได้ช้ากว่า แต่จะได้ค่าเริ่มต้นของข้อมูลมากกว่า)
ทั้งนี้แบบ 9.1 เหมาะกับการ Connect จาก Client จากระยะไกลมาที่ Server (เช่น กรณีใช้โปรแกรม jhcis บนเครื่องลูกข่ายที่อยู่ในระยะไกลจากเครื่องแม่ข่าย เช่น การออกไปให้บริการนอกสถานบริการ (โดย connect ผ่าน VPN มาที่เครื่องแม่ข่ายฯ)) ซึ่งจะทำให้การส่งคน เข้ารับบริการเร็วมากขึ้น
แต่ทั้งนี้ แม้จะเป็นการใช้โปรแกรม jhcis บนเครื่องฯ ที่อยู่ในระบบเครือข่ายเดียวกันในระยะใกล้ (LAN) ก็สามารถเลือก Option แบบข้อ 9.1 ได้ (การส่งคนเข้ารับบริการและการใช้งานเมนูการให้บริการ ก็จะเร็วมากขึ้น)
10. ในระบบคลังยาฯ สามารถกำหนดยอดยกมา(คงเหลือ) สำหรับรายการที่เป็น เวชภัณฑ์มิใช่ยาฯ ได้ เพื่อให้สามารถประมวลผลรายงานระบบคลังยาฯ สำหรับ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาฯ ได้ (โดยไปกำหนดที่เมนู กำหนดยอดคงเหลือ ก่อนเริ่มใช้ระบบคลังยาฯ )
11. ตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่บันทึกข้อมูลได้ไม่สมบูรณ์ เพื่อให้สามารถ update ข้อมูลให้ครบถ้วนและสมบูรณ์ โดยดำเนินการที่เมนู ข้อมูลพื้นฐาน /คลิ้กที่ปุ่มคำสั่ง ตรวจสอบผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่บันทึกข้อมูลไม่สมบูรณ์ฯ …
12. ปรับหน้าบันทึกข้อมูลทันตกรรม ให้สามารถค้นหาและบันทึกรายการทันตกรรม ได้สะดวกสบายมากขึ้น โดยดับเบิ้ลคลิ้กที่ช่องรายการทันตกรรม แล้วค้นหารายการหัตถการทันตกรรม ที่ต้องการบันทึกฯ ได้
13. แสดงประวัติทันตกรรม ได้โดย ที่เมนู บริการ / คลิ้กที่ปุ่มคำสั่ง ทันตฯ /คลิ้กรายการ => ประวัติทันตกรรม
14. บันทึกการฝากครรภ์ และการคลอดแบบความครอบคลุม สำหรับคนนอกเขตรับผิดชอบฯ ทั้งนี้เพื่อให้สามารถบันทึกการคลอดของเด็ก(แรกเกิด) ที่มีแม่เป็นคนนอกเขตฯ แต่ตัวบุตร อยู่ในเขตฯ เพื่อให้เชื่อมโยงไปบันทึกการดูแลทารกหลังคลอด(ตัวเด็กอยู่ในเขตรับผิดชอบฯ) ได้ และส่งออกในแฟ้ม PP (การดูแลทารกหลักคลอด) ได้อย่างสมบูรณ์
15. ปรับการส่งออกแฟ้ม MCH และ PP โดยหากรอบการส่งออกนั้น มีวันดูแลหลังคลอดเพียง 1 วัน(ครั้ง) จะยังไม่ส่งแฟ้ม MCH และ PP รายการนั้นออกมา
16. แก้ไขค่าเริ่มต้นสำหรับการบันทึกการตรวจครรภ์ ให้เหมาะสมกับลักษณะข้อมูลโดยส่วนใหญ่ ได้แก่ เด็กดิ้นหรือไม่? ค่าเริ่มต้น = 1:ดิ้น ,เสียงหัวใจเด็ก? ค่าเริ่มต้น = 2: ได้ยินปกติ ,การตรวจฟัน? ค่าเริ่มต้น = 1:ตรวจฯ และ สภาพหัวนม ค่าเริ่มต้น = 1:ปกติ
17. เพิ่มรายการประมวลผลเพื่อเปลี่ยนค่ารหัสสิทธิฯ ในกลุ่มหลักประกันสุขภาพที่เป็นรหัส 4 หลักคือ 0100 (ที่สถานบริการบางแห่ง เปลี่ยนจากรหัส 2 หลักเดิม (71,72,73,…..,89,…98,9A)) ให้กลับมาเป็นรหัสเดิม 2 หลัก เพื่อให้สามารถประมวลผลรายงานที่ต้องจำแนกตามสิทธิย่อยที่เป็น 2 หลักได้( เช่น รายงาน สปภ 02/1 , รบ 1 ก 01/1 ฯลฯ) ทั้งนี้เนื่องจากหากเปลี่ยนเป็นรหัส 0100 (หลักประกันสุขภาพ) จะไม่สามารถประมวลผลรายงานจำแนกตามสิทธิย่อยแบบ 2 หลัก ได้ โดยการเปลี่ยนฯ จาก 0100 กลับมาเป็น 71,73,…..,89,…98,9A ให้สั่งดำเนินการเปลี่ยนแปลงที่เมนูระบบโปรแกรม รพ สตฯ โดยคลิ้กที่ปุ่มคำสั่ง เปลี่ยนรหัสสิทธิ 0100 เป็นรหัส 2 หลักเดิม( 71,77,89 ) …แต่ทั้งนี้จะสามารถเปลี่ยนกลับฯ ได้บางส่วนเท่านั้น (lj;o.sPj) โดยใช้หลักเกณฑ์ เลขที่บตรสิทธิ ที่มีความชัดเจนถึงสิทธิย่อยแบบ 2 หลัก นั้นๆ …ดังนั้น เลขที่บตรสิทธิแบบดั่งเดิม ที่ไม่ชัดเจนถึงตัวสิทธิย่อย 2 หลัก ระบบฯ ไม่สามารถจะแปลงกลับมาได้
เช่น เลขที่บัตร ท71XXXXXXXXXXX เปลียนสิทธิในฐานประชากร และในข้อมูลบริการ (person . rightcode และ visit . rightcode) กลับเป็น 71 เป็นต้น
18. ปรับแก้ Error ที่ Dialog ระบุวันที่คลอด ที่ error เดิม Dialog ระบุวันที่คลอด ไม่ปิดลงเมื่อคลิ้กฯ OK ทำให้ไม่สามารถบันทึกการคลอดแบบ ความครอบคลุม ได้( ความจริงก็สามารถบันทึกฯ ได้ แต่ให้คลิ้กที่ปุ่ม กากบาทแทนเมื่อ Dialog บันทึกการคลอดเปิดขึ้นฯ แต่ผู้ใช้ฯ บางรายไม่ลองปิดที่กากบาท เลยปิดไม่ลง )
19. ปรับค่าการส่งออกแฟ้ม proced ที่คอลัมภ์ SERV_PER ให้ส่งออกเป็นเลขบัตรประชาชน 13 หลักของ user คนนั้นๆ( user . idcard )…ถ้าไม่มีค่าเลขที่บัตรประชาชน จึงจะส่งออกด้วยค่า เลขที่ใบอนุญาต แทน ทั้งนี้ จะต้องไปบันทึกเลขที่บัตรประชาชน ของ จนท ทุกคนของ รพ สต …โดย login ด้วย ADM / แล้วไปที่เมนู รายชื่อผู้ใช้งานโปรแกรมฯ แล้วบันทึกเลขที่บัตรประชาชนของ จนท. ( user ) ทุกคนให้ครบถ้วน ถูกต้อง
20. กรณีเลือกเงื่อนไขโปรแกรมฯ ให้ Auto Diag Z-Code
- เมื่อบันทึกการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จะเปลี่ยนการวินิจฉัยจากเดิม Z12.4 เป็น Z01.4(การตรวจทั่วไปทางนรีเวชฯ ) …ข้อมูลอ้างอิงโดย IT สสจ อุบลราชธานี …อ้างอิงจากทีม IT สสจ อุบลราชธานี …อ้างอิงต่อจาก งานรหัสมาตรฐาน ( icd10 ) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ( 4 พย 55)
- เมื่อบันทึกการคัดกรองมะเร็ง VIA จะได้รหัสวินิจฉัยเป็น Z12.4 …อ้างอิงจากทีม IT สสจ อุบลราชธานี …อ้างอิงต่อจาก งานรหัสมาตรฐาน ( icd10 ) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ( 4 พย 55)
21. ปรับค่าหัตถการที่เป็นรายการทันตกรรม จำนวน 62 รายการโดยกำหนดกลุ่มย่อยเป็น 1: ส่งเสริมทันตกรรม และ 2:รักษาทางทันตกรรม และกำหนดรายการทันตกรรมดังกล่าว ที่ชนิดฟัน เป็น 1: ฟันน้ำนม และ2: ฟันแท้ ( อ้างอิงโดย งานทันตกรรม และทันตแพทย์ รพ บางกรวย นนทบุรี 6 พย 55 )
22. เมื่อมีการบันทึกการตรวจสุขภาพช่องปาก จะได้รหัสทันตกรรม(หัตถการ) 2330011 …อ้างอิงจากงานทันตกรรม(ทันตแพทย์ รพ. บางกรวย นนทบุรี 6 พย 55)
23. แก้ไข error ที่เมนู เด็กแรกเกิด – 72 เดือน ที่เดิมแสดงข้อมูล น้ำหนักและส่วนสูงที่ชั่งล่าสุดไว้ไม่ถูกต้อง และไม่ตรงกับประวัติการชั่งน้ำหนัก ด้านล่าง
24. กำหนดสิทธิ์ของ user ในการเข้าถึงข้อมูลบริการจากฐาน Provis Server ได้ โดย login ด้วย ADM /ไปที่เมนู รายชื่อผู้ใช้งานโปรแกรมฯ /คลิ้กขวาที่รายชื่อนั้น /คลิ้กฯ เลือกให้ปรากฏเครื่องหมายถูกที่ check box ทั้งนี้ระบบ Provis Server ต้องอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
25.แก้ error ส่งออกแฟ้ม pp ไม่ได้ (โดยสามารถส่งออกฯ ได้แล้ว)
โดยโปรแกรมฯ จะกรองข้อมูล pp ที่ยังบันทึกตรวจหลังคลอดไม่ครบ 2 ครั้งมาตรฐาน ไม่ให้ส่งออกมา (โดยสรุปคือทั้งแฟ้ม mch และ pp หากยังบันทึกตรวจหลังคลอดไม่ครบ 2 ครั้งมาตรฐาน จะยังไม่ส่งออกมาใน 21 แฟ้ม คือส่งแต่แฟ้มเปล่าครับ ต่างกับแฟ้ม nutri ที่หากไม่ใช่ 4 เดือนตามเงือนไข สปสช 56 จะไม่มีแฟ้ม nutri ออกมาเลย)

===============================================================================
What's new in Version 2.2.20120827.46
===============================================================================
 jhcis-server-update-2.2.20120827.46.exe
jhcis-server-update-2.2.20120827.46
(87.6 MiB) ดาวน์โหลด 40038 ครั้ง

 jhcis-client-update-2.2.20120827.46.exe
jhcis-client-update-2.2.20120827.46
(87.6 MiB) ดาวน์โหลด 37707 ครั้ง


**icd10 ไฟล์ใหม่ 23 สค.55**

 icd10.zip
แตกไฟล์ไว้ที่ \ProgramFiles\jhcis\all_files_for_import
(1.47 MiB) ดาวน์โหลด 28736 ครั้ง


1. ปรับการบันทึกข้อมูลและค่าการส่งออก 21 แฟ้มข้อมูลเพื่อให้เป็นตามข้อกำหนดของ สปสช และ สนย ดังนี้
1.1 บันทึกโภชนาการ(Nutrition) ให้บันทึกได้เฉพาะในเดือน กรกฏาคม ,ตุลาคม ,มกราคม และ เมษายน เท่านั้น
เพราะถ้าบันทึกในเดือนอื่นนอกจาก 4 เดือนนี้ จะทำให้ค่า Date_Serv(วันที่ตรวจโภชนาการ) ไม่อยู่ใน กฏเกณฑ์ สปสช
และข้อมูลนี้จะ Error โดยมีรายละเอียดเพิ่มเติมดังนี้
- อายุ 0 -5 ปี ส่งออกในเดือน เดือน กรกฏาคม ,ตุลาคม ,มกราคม และ เมษายน( ปีละ 4 ครั้ง)
- อายุ 6 -14 ปี ส่งออกในเดือน เดือน กรกฏาคม และ มกราคม( ปีละ 2 ครั้ง)
- ไม่ส่งออกฯ ในกรณีที่เป็นคนต่างด้าว(ไม่ใช่สัญชาติไทย(099))
1.2 การส่งออกข้อมูลแฟ้ม Nutrition ต้องบันทึกทั้งน้ำหนัก และส่วนสูงที่เมนู บริการ –แทร็บโภชนาการ & วัคซีนเท่านั้น
(การบันทึกน้ำหนักและส่วนสูงที่เมนูบริการ –แท็บข้อมูลเบื้องต้น อาจจะไม่ถูกนำไปเป็นค่าโภชนาการสำหรับแฟ้ม Nutrition
เนื่องจากอาจเป็นเรื่องการป่วย ซึ่งไม่สามารถนำมาใช้ในการประเมินภาวะโภชนาการได้)
1.3 แก้ไขการส่งออกน้ำหนัก และส่วนสูง ในแฟ้ม Chronicfu ให้มีค่าทศนิยม 2 หลักถ้าไม่มีเศษทศนิยม ให้ส่งเป็น .00
2. แก้ปัญหาที่ในบางครั้งการบันทึกโภชนาการในนักเรียนแล้วได้เป็นข้อมูลในแฟ้ม nutrition
โดยไม่ว่าจะบันทึกกิจกรรม โภชนาการนักเรียน เป็นกิจกรรมแรกหรือไม่ ก็จะเป็นข้อมูลในแฟ้ม nutrition ให้เสมอ โดยต้องบันทึกทั้งน้ำหนักและส่วนสูง
3. ปรับเพิ่มให้บันทึกค่ารหัสสถานบริการที่ย้ายมา (Char(5)) ในเมนูผู้ใช้งานโปรแกรมฯ(user) เพื่อให้ส่งออกในแฟ้ม provider ใน 43 แฟ้ม
4. ที่เมนูการส่งออก 21 แฟ้มเพิ่มเงื่อนไขทางเลือกให้สามารถเลือกส่งทั้งหมดเฉพาะในแฟ้ม chronic ได้
(เนื่องจากปี งปม. 56 สปสช. ให้ส่งแฟ้ม chronic ทั้งหมดครั้งเดียวในเดือน กค. 55 (ยกเว้นรายใหม่ส่งได้ทุเดือน ))
5. รหัสสิทธิ (2 หลัก ยกเว้น 00:ข้าราชการ) ยังคงค้นหาได้เกี่ยวกับสิทธิแบบ รหัส 2 หลัก เพื่อรองรับรหัสสิทธิบางรายการที่ยังคงใช้อยู่ในบางพื้นที่
และสามารถ update ลงใน person . rightcode ได้จากแหล่งข้อมูลบางแหล่งที่ยังสามารถหามา update ได้)
6. ปรับค่าการบันทึกข้อมูลการตรวจตา เพื่อส่งออกในแฟ้ม chronicfu ในระบบ 43 แฟ้ม โดยเพิ่มค่าผลการตรวจเป็น ปกติ หรือไม่ปกติ ได้
(ในระบบ 21 แฟ้ม chronicfu จะบันทึก/ส่งออกฯ เฉพาะผลว่าตรวจ หรือไม่ตรวจ เท่านั้น )
7. ปรับเพิ่มให้สามารถบันทึกผลการตรวจพัฒนาการ(สมวัย) สำหรับเด็ก อายุ 0-72 เดือน ได้โดยตรงที่เมนูบันทึกโภชนาการ โดยบันทึกผลพัฒนาการเป็น 1:ปกติ 2:สงสัยว่าไม่ปกติ 3:ไม่ปกติ
8. ปรับเพิ่มให้บันทึกค่ารหัสสถานบริการที่ย้ายมา (Char(5)) ในเมนูผู้ใช้งานโปรแกรมฯ(user) เพื่อให้ส่งออกในแฟ้ม provider ใน 43 แฟ้ม
9. ปรับระบบการตรวจสอบเลขบัตรประชาชนตามหลัก Mod11 เพิ่มเติม ดังนี้
9.1 คนที่เลขบัตรประชาชน ไม่ถูกต้อง แต่สัญชาติไทย จะไม่มีการอัพเดท เลขบัตร ปชช ด้วยค่า pcucode+000…+pid (user ต้องแก้ไขให้เป็นเลขบัตร ปชช ที่ถูกต้อง เอง)
9.2 คนที่เลขบัตรประชาชน ไม่ถูกต้อง ที่ไม่ใช่สัญชาติไทย จะทำการอัพเดท เลขบัตร ปชช ด้วยค่า pcucode+000…+pid (เพื่อให้การตรวจคุณภาพเบื้องต้นด้วยโปรแกรม OP/PP ในแฟ้ม person ไม่ Error)
9.3 มีเมนูแสดงรายชื่อประชากรที่สัญชาติไทย ที่เลขบัตรประชาชนไม่ถูกต้องตาม Mod11 (คลิ้กที่ปุ่ม ตรวจสอบคนที่มีเลขบัตรประชาชน ไม่ถูกต้อง )
10. สามารถลบคนนอกเขตที่ไม่มีประวัติรับบริการใดๆ ออกจากฐานข้อมูล (ยกเว้นมีประวัติการรับบริการและมีประวัติการเป็นเด็กที่คลอดจากแม่) ได้
ที่เมนูข้อมูลพื่นฐานทั่วไป (คลิ้กที่ปุ่มฯ ลบคนนอกเขต ที่ไม่มีประวัติรับบริการ ออก)
11. สามารถเลือกเปลี่ยนรหัส วินิจฉัย opd ที่เป็นรหัสโรคเรื้อรัง ที่ไม่ถูกต้อง ให้เป็นรหัสวินิจฉัยใหม่ (เดิมลบทิ้งทั้งหมด หรือไปแก้ไขให้ถูกต้องในทุกครั้งที่ วินิจฉัยผิด ได้เท่านั้น)
12. แก้ปัญหาการส่งข้อมูลไปที่ Data Center ของจังหวัดสำหรับตารางที่เคยมีปัญหาฯ ดังนี้
12.1 ตาราง house => เพิ่มคำสั่ง insert into house ลงในตาราง replicate_log
12.2 ตาราง visitancpregnancy และ visitanc => เพิ่มคำสั่ง insert into visitancpregnancy และ insert into visitanc …. ลงในตาราง replicate_log
12.3 ตาราง visitnutrition => เพิ่มคำสั่ง insert into visitnutrition ลงในตาราง replicate_log
13. update ค่าวันที่ติดตามล่าสุดให้ในแฟ้มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เมื่อผู้ป่วยดังกล่าวมารับบริการ
14. สามารถนำเข้าข้อมูลรหัสโรค(icd10 tm version 5) ตามประกาศหน้าเวบ สปสช. จำนวน 41,147 รายการ แต่ผู้ใช้ต้องสั่งนำเข้าเอง ผ่านเมนูโปรแกรม(ตามที่โปรแกรมแจ้งแนะนำไว้)
15. แปลงข้อมูลการรับวัคซีน (EPI) จากฐานข้อมูล Hosxp เข้าใน JHCIS

การปรับ JHCIS สำหรับจังหวัดนำร่อง ส่งออก 43 แฟ้มที่ใช้ JHCIS (รวมทั้งที่มิใช่จังหวัดนำร่อง ด้วย)
1. หากเป็นการคลอดที่ ไม่ได้ให้บริการทำคลอดเอง ให้บันทึกการคลอดโดยไม่ต้องมี visit (service)
2. เพิ่มฟิลด์รหัสสถานบริการ ที่ user ย้ายจากมา( กรณีที่ย้ายจากที่อื่นมา(ไม่ใช่การบรรจุใหม่ครั้งแรกที่นี่) ) ในตาราง user เพื่อส่งออกในแฟ้ม provider
3. เพิ่มฟิลด์ผลพัฒนาการในตาราง visitnutrition เพื่อส่งออกใน แฟ้ม nutrition และบันทึกข้อมูลนี้ได้ที่เมนูโภชนาการ


===============================================================================
What's new in Version 2.2.20120703.36
===============================================================================

ปรับชื่อไฟล์ส่งออก OP/PP จาก F18 เป็น F21
 jhcis-server-update-2.2.20120703.36.exe
jhcis-server 3 กค. 55
(58.16 MiB) ดาวน์โหลด 36728 ครั้ง

 jhcis-client-update-2.2.20120703.36.exe
jhcis-client 3 กค. 55
(58.16 MiB) ดาวน์โหลด 28974 ครั้ง


===============================================================================
What's new in Version 2.2.20120429.35
===============================================================================

 jhcis-server-update-2.2.20120629.35.exe
jhcis-server 29 มิย.55
(58.14 MiB) ดาวน์โหลด 16641 ครั้ง

 jhcis-client-update-2.2.20120629.35.exe
jhcis-client 29 มิย.55
(58.14 MiB) ดาวน์โหลด 14230 ครั้ง

----------------------------------------------------------------------------------------------------
ระบบบันทึกข้อมูล
----------------------------------------------------------------------------------------------------
1. เพิ่มโอกาสการส่งออกข้อมูลในแฟ้ม ncdscreen ให้ได้มากขึ้น
-โดยผู้ที่ได้รับการคัดกรองที่ป่วยเรื้อรังในกลุ่มความดันสูง(01) หรือกลุ่มเบาหวาน(10) เพียงกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเพียงกลุ่มเดียว หรือป่วยเรื้อรังในกลุ่มอื่น ที่มิใช่ 2 กลุ่มดังกล่าว จะยังส่งข้อมูลออกมาในแฟ้ม ncdscreen ได้
- แต่การบันทึกคัดกรอง HT/DM ในคนๆเดียวกันในปีเดียวกัน ที่มากกว่า 1 ครั้ง (ซึ่งสามารถทำได้ใน JHCIS) จะถูกส่งออกมาในรอบการส่ง นั้นๆ ด้วย ซึ่งอาจถูกตรวจให้เป็นการคัดกรองซ้ำและอาจถูกตัดแต้มได้
( สนย / สปสช กำหนดให้คัดกรองฯ ได้ 1 ครั้ง/คน/ปี)
2. เปลี่ยนชื่อแฟ้มส่งออก 21 แฟ้ม เป็น F21_XXXXX_YYYYMMDDhhmmss.zip ตัวอย่าง เช่น F21_06654_20120423120159.zip
3. ปรับค่า PREGNANCY ในแฟ้ม death ให้เป็นไปตามที่ สนย กำหนดใหม่ คือ 1= เสียชีวิตระหว่างตั้งครรภ์ 2= เสียชีวิตระหว่างคลอดหรือหลังภายใน 42 วัน และ 9 = ไม่ทราบ(ผู้ชายให้ส่งค่า null ซึ่งใน Text File ของแฟ้ม death นั้นจะส่งเป็นค่า \N ออกมา (ยืนยันจาก สนย. (คุณโอ๋) 24 เมย. 55))
4. ปรับโครงสร้างฐานข้อมูลเพื่อรองรับการบันทึกข้อมูล ดังนี้
4.1 ปรับโครงสร้างฐานข้อมูล ตาราง studenthealthnutrition โดยเพิ่มฟิลด์ waist ( Decimal (5,1)) และปรับหน้าบันทึกข้อมูลอนามัยนักเรียน /ส่วนงาน(ปุ่มคำสั่ง) ตรวจโภชนาการ ให้บันทึกข้อมูลการตรวจรอบเอวนักเรียน(ลงในฟิลด์ ดังกล่าว) ได้
4.2 ปรับโครงสร้างฐานข้อมูล ตาราง visitscreenspecialdisease โดยเพิ่ม 2 ฟิลด์คือ
Depressed ( Char(1) ) => 1: รู้สึกหดหู่ฯ , 2:ไม่รู้สึกฯ และฟิลด์
fedup ( Char(1) ) => 1: รู้สึกเบื่อฯ , 2:ไม่รู้สึกฯ
เพื่อเก็บค่าคำถาม 2 Q สำหรับงานคัดกรองโรคซึมเศร้า (คำถาม 9 Q / 8 Q (ถ้ายังจะต้องใช้ในอนาคต) จะดำเนินการให้ในโอกาสต่อไป)
4.3 ปรับโครงสร้างฐานข้อมูล ตาราง user เพิ่อรองรับการส่งออก 43 แฟ้ม( provider) โดยเพิ่ม 3 ฟิลด์ ดังนี้
Usersex Char(1) => เพศ ของ จนท. (1:ชาย ,2:หญิง)
Userbirth Date => วันเดือนปีเกิด ของ จนท.
Dateworkhere =>วันที่มาปฏิบัตรงานที่สถานบริการนี้เป็นวันแรก
5. ในกรณีที่เป็น รพ สต. หรือ pcu ใหม่ที่ติดตั้งโปรแกรม JHCIS แล้วไม่มีฐานข้อมูล HCIS สำหรับแปลงขึ้นมาบนฐาน JHCIS (เป็นสถานบริการใหม่ ที่ไม่เคยใช้งานโปรแกรมฐานข้อมูลใดๆ มาก่อน)
โปรแกรมสามารถสั่งนำเข้ารหัสสถานบริการ (ประมาณ 15,000 รายการ) เข้าในฐานข้อมูล JHCIS เพื่อให้สามารถกำหนดเป็นค่าเริ่มต้นของสถานบริการที่ใช้งานโปรแกรม JHCIS ได้
(ทั้งนี้ต้องอาศัยไฟล์ chos.bat และ chos.sql ( อยู่ใน C:\Program Files\JHCIS\all_files_for_import\ หรือ C:\Program Files\JHCIS-Client\all_files_for_import\ )
โดยดำเนินการที่เมนู รหัสสถานบริการ /คลิ้กที่ปุ่ม นำเข้ารหัสสถานบริการ
6. บันทึกข้อมูลพิกัดบ้านได้สะดวกมากขึ้น (เดิมต้องค้นบ้านมาทีละ 1 หลังแล้วบันทึก) โดยไปที่เมนูบ้าน /เลือกหมู่บ้าน /คลิ้กที่ปุ่ม แสดงบ้าน–ชุมชน/เมื่อโปรแกรมฯ เปิด Dialog แสดงรายการบ้านแล้ว ให้คลิ้กที่ปุ่ม พิกัด GIS แล้วสามารถบันทึกค่าพิกัดฯ ได้ในคราวเดียวกันทุกบ้าน ดังกล่าว
7. ปรับช่องรายการ อาชีพ ในเมนูประชากร ให้บันทึกอาชีพได้สะดวกมากขึ้น โดยสามารถดับเบิ้ลคลิ้กฯ เพื่อเปิด Dialog ค้นหาอาชีพ (ซึ่งปัจจุบันมีเป็นจำนวนมาก) ทำให้การค้นหาและเลือกบันทึกทำได้สะดวกรวดเร็วมากขึ้น
8. สามารถค้นหาชื่อผู้ได้รับบริการเรียบร้อยแล้ว ได้โดย เมื่อคลิ้กที่ปุ่มฯ แก้ไข /เมื่อโปรแกรมฯ เปิด Dialog แสดงรายชื่อผู้ที่ได้รับบริการเรียบร้อยแล้ว ให้คลิ้กขวา/คลิ้กซ้ายที่ ค้นหา
9. ปรับแก้ค่าการส่งออก 21 แฟ้ม ค่ารอบเอว ในแฟ้ม ncdscreen และ chronicfu โดยจะส่งออกเป็นเลขจำนวนเต็ม(หากค่าทศนิยมเกิน 0.5 จะปัดขึ้น +1) ทั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาที่โปรแกรม provis (และอาจมีโปรแกรมอื่นๆ อีก ด้วย) ที่จะไม่รับค่าข้อมูลที่เกิน 3 หลัก (เช่น 65.7 etc.)
10. เพิ่มระบบตรวจสอบข้อมูล 21 แฟ้ม (10 แฟ้มที่ สปสช. ตรวจสอบฯ) ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบจาก สปสช. เพื่อให้ผู้ใช้ฯ(สถานบริการ) สามารถตรวจสอบและแก้ไขข้อมูล แล้วส่งออก 21 แฟ้ม (เฉพาะที่แก้ไขนี้) เพื่อส่งกลับไป สปสช. อีกครั้ง โดยไปที่เมนู รายงาน /คลิ้กที่ปุ่มคำสั่ง นำเข้า XML 10 แฟ้มที่ไม่ถูกต้อง (กระบวนการนี้ อยู่ระหว่างทดสอบฯ)
11. เพิ่มการบันทึกข้อมูล การพบเลือดในปัสสาวะ ( ในตาราง visitlabsugarurine ในฟิลด์ bloodinurine ( 0:ไม่พบ 1:พบ )
12. เพิ่มรหัสวินิจฉัย ( Z-Code ) สำหรับวัคซีนเมื่อมีการบันทึกรับวัคซีนจากสูตร/ชุดวัคซีน
13. โปรแกรมฯ ไม่อนุญาตให้บันทึกการรับวัคซีน ในกรณีที่วัคซีนนั้น กำหนดรหัสไว้ไม่ถูกต้องตามมาตรฐานรหัสวัคซีนสำหรับ JHCIS (ตรวจสอบรหัสวัคซีน JHCIS ที่เมนูรหัสวัคซีน /คลิ้กที่ปุ่มฯ มาตรฐาน J ) …ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความผิดพลาดในข้อมูลหรือรายงานที่เกี่ยวกับการรับวัคซีน (ทุกสถานบริการฯ ต้องกำหนดรหัสวัคซีนให้เป็นไปตามมาตรฐาน JHCIS มิฉะนั้นโปรแกรมฯ จะไม่สามารถประมวลผลรายงานเกี่ยวกับวัคซีนให้เป็นไปตามมาตรฐานเดียวกันได้)
14. มีระบบแจ้งเตือน เมื่อพบว่ามีผู้รับบริการแล้วถูกวินิจฉัย(visitdiag) ด้วยรหัสวินิจฉัยที่เป็นโรคเรื้อรัง แต่ยังไม่มีข้อมูลโรคเรื้อรังดังกล่าว อยู่ในประวัติโรคเรื้อรัง (personchronic) โดยแจ้งเตือนทุกครั้งเมื่อเข้าสู่โปรแกรมฯ (หากพบข้อมูลดังกล่าว )
15. ปรับโครงสร้างฐานข้อมูลในตารางบริการ(visit) โดยเพิ่มฟิลด์ moneynoclaim (Decimal) เพื่อบันทึกค่า จำนวนเงินที่สถานบริการเรียกเก็บจากผู้รับบริการ ในกรณีที่การบริการบางรายการไม่สามารถใช้สิทธิเบิกได้แม้จะมีสิทธิฯ เช่น การจ่ายยานอก บ/ช ยาหลักแห่งชาติ ที่ผู้รับบริการประสงค์จะขอรับฯ หรือกรณีค่าใช้จ่ายในการบริการเกินสิทธิฯ ที่มีอยู่ เป็นต้น ทั้งนี้ผู้ให้บริการจะต้องบันทึกค่าดังกล่าวลงไปเอง หากเกิดมีกรณีบริการดังกล่าวนั้น โดยบันทึกได้ที่หน้าเมนูบริการ (คลิ้กที่ปุ่มฯ เงินที่ต้องจ่ายเอง(ส่วนที่ไม่สามารถใช้สิทธิเบิกได้)) …เพื่อส่งออกในแฟ้ม service สำหรับโครงสร้าง 43 แฟ้ม
16. บันทึกข้อมูลสถานะชีวิต เมื่อสิ้นสุดการรับบริการ (1:กลับบ้านได้(ไม่ตาย) 2:เสียชีวิตก่อนถึงสถานบริการนี้ 3:เสียชีวิตหลังจากถึงสถานบริการนี้ แล้ว) โดยคลิ้กฯ ที่ปุ่มฯ สถานะชีวิต เมื่อเสร็จสิ้นการบริการ (เพื่อส่งออกในแฟ้ม service) โดยข้อมูลจะถูกบันทึกลงในตาราง visit . alivestatus
17. บันทึกข้อมูลจำนวนเงินที่ต้องจ่ายเอง ในกรณีที่ไม่สามารถใช้สิทธิเบิกได้ หรือใช้สิทธิได้ไม่ทั้งหมด( เช่น การได้รับยานอก บ/ช ยาหลักแห่งชาติ /การรับบริการที่มีค่าใช้จ่ายมากกว่าสิทธิที่เบิกได้ เป็นต้น) โดยบันทึกได้ที่เมนูการจ่ายยาฯ ที่ช่องรายการ เบิกไม่ได้ (เพื่อส่งออกในแฟ้ม service) โดยบันทึกลงในตาราง visit . moneynoclaim
18. โปรแกรมฯ ส่งออกข้อมูลเลขบัตรประชาชนออกไปใน 15 แฟ้มต่อไปนี้ ได้แก่แฟ้ม anc ,appoint ,diag ,drug ,epi ,fp ,nutri ,proced ,service ,mch ,pp ,ncdscreen ,chronicfu ,labfu และ woman
19. ปรับปรุงรหัสสิทธิจากเดิม 2 หลัก เป็น 4 หลักในตาราง cright และ person เท่าที่สามารถทำได้ ดังนี้
19.1 รหัส 71 – 99 และ 9A (UC มี ท.) ปรับเป็นรหัส 0100 (หลักประกันสุขภาพ)
19.2 รหัส 02,03(ประกันสังคม) ปรับเป็น 4200(กองทุนประกันสังคม)
19.3 รหัส 09 ()
19.4 รหัส 51 (ต่างด้าวที่ขึ้นทะเบียน) ปรับเป็น 8400 (บุคคลที่มีสิทธิต่างด้าว)
19.5 รหัส XX ,ZZ ,06 และ 52 (ไม่มีสิทธิฯ และต่างด้าวไม่ขึ้นทะเบียน) ปรับเป็น 9100
…สำหรับรหัสสิทธิ ที่เหลือ ผู้ใช้ฯ ต้องดำเนินการปรับเปลี่ยนเองผ่านเมนู รหัสสิทธิ(ลบรหัสสิทธิเดิม 2 หลักออกไป ถ้าสามารถทำได้ฯ ) และเมนู ประชากร เนื่องจากโปรแกรมฯ ไม่สามารถดำเนินการให้ได้เพราะไม่มีข้อมูลเพียงพอสำหรับการตัดสินใจฯ เช่น สิทธิข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ เป็นต้น
20. ปรับปรุงรหัสอาชีพจากเดิม 3 หลัก เป็น 4 หลักในตาราง coccupa และ person เท่าที่สามารถทำได้ ดังนี้
20.1 รหัส 000 และ 091 (ไม่มีอาชีพ) ปรับเป็นรหัส 9999 (ไม่มีงานทำ)
20.2 รหัส 001 (เกษตรกรรม) ปรับเป็น ????............????
20.3 รหัส 002 (รับจ้างฯ) ปรับเป็น ????............????
20.4 รหัส 003 (ค้าขาย) ปรับเป็น ????............????
20.5 รหัส 004 (รับราชการ) ปรับเป็น ????............????
20.6 รหัส 005 (รัฐวิสาหกิจ) ปรับเป็น ????............????
20.7 รหัส 006 (นักการเมือง) ปรับเป็น ????............????
20.8 รหัส 007 (ทหาร /ตำรวจ) ปรับเป็น ????............????
20.9 รหัส 008 (ประมง) ปรับเป็น ????............????
20.10 รหัส 009 (ครู) ปรับเป็น ????............????
20.11 รหัส 010 (อื่นๆ) ปรับเป็น ????............????
20.12 รหัส 012 (เลี้ยงสัตว์) ปรับเป็น ????............????
20.13 รหัส 013 (นักบวช) ปรับเป็น ????............????
20.14 รหัส 014 (งานบ้าน) ปรับเป็น ????............????
20.15 รหัส 015 (นักเรียน) ปรับเป็น 9000(นักเรียน /นักศึกษา)
…สำหรับรหัสอาชีพ ที่เหลือ ผู้ใช้ฯ ต้องดำเนินการปรับเปลี่ยนเองผ่านเมนู รหัสอาชีพ(ลบรหัสอาชีพ 3 เดิมออกไปถ้าสามารถทำได้ฯ) และเมนู ประชากร เนื่องจากโปรแกรมฯ ไม่สามารถดำเนินการให้ได้เพราะไม่มีข้อมูลเพียงพอสำหรับการตัดสินใจฯ
----------------------------------------------------------------------------------------------------
ระบบรายงาน
----------------------------------------------------------------------------------------------------
1. รองรับ iReport ทั้งเวอร์ชั่น 2 และเวอร์ชั่น 4.5
2. แก้ปัญหา รายงานใบสั่งยา (DrugOrder.jasper) Error เดิมคือผู้ส่งเข้าคิวจะปรากฏเป็นผู้สั่งยาในใบสั่งยา (ถ้าหากผู้สั่งยาจริงที่เรียกคิวเข้ามารักษา สั่งจ่ายยา(บันทึกการจ่ายยาฯ) โดยไม่ได้แก้ไขข้อมูลบริการใดๆ )
3. สามารถพิมพ์ใบสั่งยา (DrugOrder.jasper) แบบที่ระบุรายการยา/อาหาร ที่ผู้ป่วยแพ้ ได้ (ประมวลผลรายงานที่เมนูบริการ /คลิ้กที่ปุ่ม ใบสั่งยา )


===============================================================================
What's new in Version 2.2.20120423.27
===============================================================================
 jhcis-server-update-2.2.20120423.27.exe
jhcis-server 23 เมย.55
(49.31 MiB) ดาวน์โหลด 87554 ครั้ง

 jhcis-client-update-2.2.20120423.27.exe
jhcis-client 23 เมย.55
(49.31 MiB) ดาวน์โหลด 32573 ครั้ง

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ระบบบันทึกข้อมูล
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. แก้ปัญหาโดยหากความดันครั้งที่สอง ไม่เข้าเกณฑ์เสี่ยงหรือสูงจะไม่วินิจฉัยรหัส R03.0 (แม้ความดันครั้งที่หนึ่งจะเข้าเกณฑ์เสี่ยงหรือสูง)
2. เพิ่มรหัสวินิจฉัย R73.9 ให้เมื่อเลขระดับน้ำตาลในเลือดถึงเกณฑ์เสี่ยงหรือสูง (โดยโปรแกรม ใช้เลข ที่กำหนดจากการกำหนดค่าเริ่มต้นของระบบฯ (ล็อกอินด้วย adm /ที่เมนูหลักคลิ้กฯที่ปุ่มฯ ระบบโปรแกรม รร สตฯ/คลิ้กฯ ทีปุ่มฯ กำหนดค่าเริ่มต้นของระบบ(System Config))/คลิ้กฯ เลือกรายการ -> กำหนดค่าเริ่มต้นของสถานบริการนี้ /แล้วกำหนดตัวเลขค่า เกณฑ์การแปลผลระดับน้ำตาล ตามเกณฑ์ ต่ำ/ปกติ หรือเสี่ยง (สูง ไม่ต้องกำหนดเพราะโปรแกรมฯ จะใช้ค่าตัวเลขที่มากกว่าเสี่ยงเพื่อแปลผลเป็น สูง))
3. แก้ปัญหาการไม่บันทึกเวลาเริ่ม /สิ้นสุดการให้บริการ (timsstart / timeend)
4. ปรับหน้าแสดงข้อมูลประวัติการรับบริการ( OPD ) ให้ดูได้ง่าย ชัดเจนขึ้น
5. แก้ไขปัญหาในกรณี(เฉพาะบางสถานบริการ) มีการเปลี่ยนแปลงรหัส( pcucode ) แล้วไม่สามารถเรียกดูข้อมูล epi ได้
6. ปรับกลุ่มสิทธิ(crightgroup) ให้มี 6 รหัสกลุ่ม ได้แก่
- 1: ข้าราชการ /รัฐวิสาหกิจ
- 2: บัตรประกันสังคม
- 3: UC (บัตรทอง ไม่มี ท.)
- 4: สปร. (บัตรทอง มี ท.)
- 5: คนต่างด้าวที่ขึ้นทะเบียน
- 6: อื่นๆ(ต่างด้าวไม่ขึ้นทะเบียน/.../ปฏิเสธ UC)
ให้เป็นตามความเป็นจริงของกลุ่มสิทธิปัจจุบัน ที่ไม่มีกลุ่มประกันสุขภาพแล้ว
7. แก้ปัญหา ข้อมูล ncdscreen (บาง รพ สต) ที่แสดงได้ไม่ครบ 2 รายการเมื่อมีการเรียกข้อมูลคัดกรองฯ มาแก้ไขฯ
8. ปรับปรุงสิทธิจากฐาน สปสช (ที่เมนูให้บริการ) ได้เพิ่มอีก 4 รายการ ( hmainOp / hsub /datestart และ dateexpire )
9. แก้ไขการส่งออก 21 แฟ้มในแฟ้ม person.txt ค่า village(หมู่ที่) จะส่งออกมาเป็น 2 หลัก โดยหากหมู่ที่ มี 1 หลัก เช่น หมู่ 1 , หมู่ 7 โปรแกรมจะส่งออกค่าเป็น 01 , 07 ฯลฯ …ทั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาให้กับ จังหวัดปัตตานี ที่นำโปรแกรม analysis ไปใช้ฯ แล้วโปรแกรมดังกล่าว จะฟ้อง error ถ้าข้อมูล person.village มีค่าออกไป 1 หลัก ทำให้เป็นปัญหากับ รพ สต มากทั้งที่จริงๆ แล้วก็ไม่ใช่ปัหาของ รพ สต ( jhcis ปรับให้เป็น 2 หลัก)
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ระบบรายงาน
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. ประมวลผลรายงาน บช 7 ได้(สามารถดูและพิมพ์รายชื่อหญิงตั้งครรภ์ ณ ขณะเวลาใดๆ ที่ระบุ ได้) โดยไปที่เมนู บัญชี 7/ระบุวันที่/คลิ้กที่ปุ่ม รายงาน
2. แก้ไขรายงาน การให้หัตถการแผนไทยเดิม คำหน้าชื่อผู้รับบริการ เป็นคำเดียวกับชื่อ user ผู้ให้บริการที่ log in เข้าโปรแกรม
3. ปรับ รง.5, Family Folder ให้ถูกต้อง

=========================================================================================

[19 มีค. 55] JHCIS VERSION 2.2.20120303.25

JHCIS-SERVER

http://app.moph.go.th/downloads/jhcis-s ... h-jre7.exe 
(JHCIS-SERVER + JRE7 Installation + folder jre7 อยู่ภายใต้ folder JHCIS กับ JHCIS ขนาดประมาณ 117MB)

http://app.moph.go.th/downloads/jhcis-s ... 303.25.exe 
(JHCIS-SERVER + folder jre7 อยู่ภายใต้ folder JHCIS ขนาดประมาณ 66MB)


JHCIS-CLIENT

http://app.moph.go.th/downloads/jhcis-c ... h-jre7.exe
(JHCIS-CLIENT + JRE7 Installation + folder jre7 อยู่ภายใต้ folder JHCIS ขนาดประมาณ 117MB)

http://app.moph.go.th/downloads/jhcis-c ... 303.25.exe
(JHCIS-CLIENT + folder jre7 อยู่ภายใต้ folder JHCIS ขนาดประมาณ 66MB) 


+++++++++++++++ อธิบายเพิ่มเติม เรื่องไฟล์ JHCIS อัปเดต +++++++++++++++

- ไฟล์ขนาด 117MB หรือ 66MB จะได้ JRE7 เหมือนกัน
- ทั้งนี้เพื่อให้แน่ใจว่า ในเครื่องเรารันแบบใด วิธีการใด เวอร์ชั่น java เป็น JRE7 แน่นอน ...

++ ไฟล์ขนาด 117MB ++
จะมี JRE7 มาให้ 2 รูปแบบ คือ
1. แพ็คมาใน C:\Program Files\jhcis\jre7
2. แพ็คมาใน C:\Program Files\java\jre7 (ใน Win 64บิต คือ C:\Program Files (x86))

++ ไฟล์ขนาด 66MB ++
จะมี JRE7 มาให้แค่ 1 รูปแบบ คือ
1. แพ็คมาใน C:\Program Files\java\jre7 หรือ (ใน Win 64บิต คือ C:\Program Files (x86))


 Chronicfu.pdf
การบันทึกเพื่อส่งออกในแฟ้ม Chronicfu.txt
(161.77 KiB) ดาวน์โหลด 7468 ครั้ง

===========
ระบบบันทึกข้อมูล
===========
ดำเนินการปรับปรุงในส่วนที่เกี่ยวกับแฟ้ม ncdscreen (ระบบคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง) ดังนี้
1. เพิ่มรายการบันทึกในเมนูคัดกรอง ncdscreen 1 รายการคือ มีรอยพับรอบคอหรือใต้รักแร้ดำ
2. ปรับโครงสร้างตาราง ncd_person_ncd_screen และตาราง ncdpersonscreenall โดยเพิ่ม 1 ฟิลด์ คือ
- blackarmpit char(1) => มีรอยพับรอบคอหรือรักแร้ดำ ( 1:มี 2:ไม่มี )
เพื่อรองรับการเก็บข้อมูลในข้อ 1
3. เพิ่มผลการตรวจเท้าในเมนูคัดกรอง ncdscreen อีก 1 รายการคือ 0: ตรวจเท้าผลเป็น ปกติ
4. บันทึกการคัดกรอง ncdscreen ให้กับผู้ที่อยู่นอกเขตรับผิดชอบฯ ได้(ค้นหาผู้ที่อยู่นอกเขตฯ ได้) แต่ไม่สามารถบันทึกคัดกรอง ncdscreen ให้กับผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว ได้
5. บันทึก อาการเบื้องต้น และการคัดกรองเฉพาะโรค โดยคลิ้กฯ เปิดจากหน้าบันทึกคัดกรอง ncd ได้ทันที
6. แก้ไขปัญหา? ที่เดิม user ผู้ให้บริการ(หน้าบันทึกบริการฯ) ที่เปลี่ยนเป็นผู้ที่ล็อกอินล่าสุด แม้ไม่ได้แก้ไขข้อมูลใดๆ
7. เพิ่ม และคงรหัสวินิจฉัย Z13.1 ไว้เสมอ ในเมนูคัดกรอง ncd แม้จะไม่บันทึกผลน้ำตาลไว้(เนื่องจากแบบสัมภาษณ์ด้วยวาจา อาจปกติ)
8. เพิ่มรหัสวินิจฉัย Z13.3 ให้ในเมนูคัดกรอง ncd ถ้ามีการบันทึกตรวจคัดกรองเฉพาะโรคซึมเศร้าด้วย
9. เพิ่มการตรวจคัดกรองมะเร็งฯ ได้นบหน้าเมนูการคัดกรอง ncd
10. ปรับความยืดหยุ่นในการใช้งาน เมนูคัดกรอง ncd ให้ใช้สะดวก และคล่องตัวมากขึ้น
11. แก้ปัญหาที่โปรแกรมฯ ไม่ยอมให้ปรับปรุงโครงสร้างฐานข้อมูล แม้ไม่มี connection เกิน 4 connection
12. ที่เมนู ประวัติ OPD สามารถแสดงข้อมูล อาการเบื้องต้นได้ทุกข้อความ
13. แก้ปัญหาการส่งออกแฟ้ม ncdscreen.txt (รายการในกลุ่ม สัมภาษณ์ด้วยวาจา :Error เดิมคือ หากไม่เลือกหัวข้อใดในกลุ่มนี้ จะส่งออกมาเป็นค่าว่าง => แก้ไขให้ส่งเป็น 2: ไม่มีประวัติส่วนนี้)
14. แก้ปัญหาการส่งออกแฟ้ม chronicfu.txt (การตรวจเท้า: หากไม่ระบุจะส่งออกมาเป็นค่าว่าง => แก้ไขให้ส่งออกมาเป็น 2:ไม่ตรวจฯ)
15. ในกรณีที่หน้าบันทึกคัดกรอง ncdscreen แปรผลระดับน้ำตาล ที่รายการคัดกรองได้ไม่ถูกต้องหรือไม่สมเหตุสมผล อาจเกิดจากการกำหนดค่าตัวเลขเกณฑ์การแปรผลการตรวจน้ำตาลในเลือด ถูกกำหนดด้วยค่าที่ไม่ถูกต้อง ในกรณีนี้ให้ผู้ใช้ ล็อกอินเข้าโปรแกรม ใหม่ด้วย adm แล้วเปิดเมนู กำหนดค่าเริ่มต้นของระบบ แล้วไปกำหนดตัวเลข การแปรผลน้ำตาลในเลือด โดยกำหนดค่าตัวเลขที่ถูกต้องและสอดคล้องกับเกณฑ์ในระดับต่างๆ ( ต่ำ /ปกติ /เสี่ยง ) แล้วการแปรผลน้ำตาลในหน้าบันทึกคัดกรอง ncdscreen ก็จะถูกต้อง
16.แก้ไข หน้าบันทึกคัดกรอง ncdscreen เกี่ยวกับการคำนวณ ระดับน้ำตาล และระดับความดัน ลงในฟิลด์ result_new_dm และฟิลด์ result_new_hbp ให้สอดคล้องกับค่าน้ำตาลและความดัน และปลดล็อกให้บันทึกข้อมูลให้ยืดหยุ่นมากขึ้น เช่น ไม่จำเป็นต้องบันทึกข้อมูลในกลุ่มสัมภาษณ์ด้วยวาจา ก็สามารถบันทึกข้อมูลคัดกรองได้ และปรับแก้การแสดงข้อความ ผลการคัดกรอง ในส่วน ผลน้ำตาลและผลความดัน
17.การอัพเดทสิทธิ จากข้อมูลสิทธิที่อยู่ในรูปเท็กซ์ไฟล์ และในเท็กซ์ไฟล์นั้นมีข้อมูลที่เป็นภาษาไทย และไม่สามารถอัพเดทค่าเหล่านั้นได้ (เช่น ไฟล์ nhsoucsearch.txt เมื่อนำมาใช้อัพเดรทสิทธิ จะอัพเดรทเลขที่บัตรสิทธิไม่ได้ในกรณีที่เลขที่บัตรสิทธิ มีภาษาไทยเป็นส่วนประกอบ ได้แก่สิทธิ สปร. เนื่องจากมี ท. เป็นส่วนของเลขที่บัตรสิทธิ ฯลฯ)

===========
ระบบรายงาน
===========
1. รายงานสรุปค่าใช้่จ่ายจำแนกตามสิทธิ
2. รายงานป้องกัน/ควบคุมเบาหวาน ความดันสูง
3. รายงานหัวใจและหลอดเลือดสมอง

[27 มค. 55]
 jhcis-server-2.1.20120127.23.exe
jhcis-server 27 มค. 55
(39.8 MiB) ดาวน์โหลด 45241 ครั้ง

 jhcis-client-2.1.20120127.23.exe
jhcis-client 27 มค. 55
(39.8 MiB) ดาวน์โหลด 38696 ครั้ง

===========
INPUT
===========
1. เพิ่มประชากรรายใหม่หรือแก้ไขข้อมูลประชากร(รายเก่า) จากการคีย์ offline และสามารถนำเข้าเพิ่ม และ/หรือแก้ไขข้อมูลฯ ประชากร นั้นลงใน Server จริง ได้
2. ปรับโครงสร้างฟิลด์ person.rightno และvisit.rightno(เลขที่บัตรสิทธิ) จาก varchar(20) เป็น varchar(18) ให้ตรงกับโครงสร้าง 21 แฟ้ม (person และ service)
3. (สำหรับทีมโปรแกรมเมอร์) เพิ่มตัวแปร UserInfo.pidmaxoffline เพื่อใช้ในการกำหนดค่า person.pid ในกรณีที่คีย์แบบ off line
4. …ได้รับแจ้งจาก คุณชัยวัฒน์ สปสช. เมื่อ 2 ธค 2554 (ตอนอยู่ที่ สอ บางเขน หลังกระทรวงฯ ) ว่า
- ค่า proced.servper ให้ส่งเป็นค่าว่างออกไป(อ้างถึง กรมแพทย์แผนไทยไม่มีข้อมูล …)
- การคีย์วินิจฉัยโรคU(โรคแผนไทย) ไม่ต้องจบหลักสูตรแผนไทย ก็ให้สามารถคีย์ได้
5. ยกเลิกการล็อคบังคับวินิจฉัยในทุกบริการ คือในบริการที่เป็นงานส่งเสริม(PP) ก็ไม่
จำเป็นต้องวินิจฉัยก็ได้ (เพียงแต่โปรแกรมฯ จะแจ้งเตือน หากผู้ใช้ยืนยัน …ไม่วินิฉัย ก็ได้)
6. เพิ่มรหัสอาชีพใหม่ 4 หลัก (ที่ไม่มีในการประกาศรอบแรกจาก สนย.) ดังนี้
9000 = นักเรียนหรือนักศึกษา
9001 = แม่บ้าน หรือพ่อบ้าน
9002 = ในปกครอง
9003 = ข้าราชการบำนาญ
9004 = ลูกจ้างประจำ
9005 = ลูกจ้างชั่วคราว
9999 = ไม่มีงานทำ
7. (สำหรับทีม jhcis) แก้ไขเมธอด getDefaultIncup ในคลาส VisitPersistentObject เพื่อให้การตรวจสอบ รพ หลักฯ ในการมารับบริการครั้งนั้นๆ ถูกกำหนดค่า ในหรือนอก CUP ได้อย่างถูกต้อง (โดยเฉพาะเมื่อมีการเรียกข้อมูลบริการกลับมาแก้ไขฯ)
8. ตัดลำดับสำคัญของโรค 02: Co-Morbidity ออกไปจากการวินิจฉัย (เนื่องจากไม่เกิดขึ้นในระดับ pcu จึงเหลือเฉพาะ 01,04 และ 05) =>> อ้างอิงจาก สสจ. อุบลฯ
9. (สำหรับทีมโปรแกรมเมอร์) เพิ่มตัวแปร UserInfo.ExpPersonAll
10. (สำหรับทีมโปรแกรมเมอร์) ปรับชนิดข้อมูลในฟิลด์ bsl ในตาราง ncd_person_ncd_screen จาก int เป็น decimal เพิ่อให้ส่งค่าน้ำตาลออกมาเป็นจุดทศนิยมได้ (ในแฟ้ม ncdscreen.txt)
11. เพิ่มทางเลือกให้ส่งออกเฉพาะแฟ้ม person.txt ให้ส่งออกมาได้ทุกคน(เพื่อให้นำเข้าข้อมูลประชากรทั้งหมดของแต่ละสถานบริการใดๆ ลงในฐานข้อมูล Provis ได้)
12. เมื่อบันทึก .คัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. จะได้รหัสวินิจฉัย Z13.8 (เดิมเป็น Z13.6)
***13. แก้ปัญหาการส่งออกแฟ้ม labfu.txt [ ที่ error เดิมจะส่งออกรหัส lab 05 – 13 ได้เฉพาะ รหัสสถานบริการ 06654( สันทรายฯ ) ]
***14. แก้ปัญหา Error สำหรับสถานบริการบางแห่งที่ไม่สามารถวินิจฉัยโรค /จ่ายยาฯ ได้ [ โดยจะแสดงจ้อความ error ว่า ….ไม่สามารถบันทึก….ได้….เนื่องจาก 01 มีอยู่แล้ว ... ]
===========
OUTPUT
===========
1. แก้ไขรายงานใบสั่งยาฯ
- กรณีเป็นผู้รับบิการนอก CUP จะแสดงคำว่า นอก CUP ไว้ด้านบน ใบสั่งยาฯ เพื่อให้แยกใบสั่งยาฯ เพื่อเคลมค่าใช้จ่ายฯ ทำได้สะดวกขึ้น
- เพิ่มชื่อสถานบริการรองฯ
2. แก้ไขรายงานใบนัดฯ (Error: เดิม คำหน้าชื่อผู้ป่วย เป็นรหัสฯ ออกมา)
3. รายงาน 504 หากป่วยต่อเนื่องจะไม่นับซ้ำ( แก้ไขที่คำสั่งฯ ใน jhcis /มิได้แก้ไขที่ตัวรายงาน 504 )
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
[15 ธค.54]



คู่มือบันทึกเพื่อส่งออก 3 แฟ้มเพิ่ม( ncdscreen ,chronic และ labfu )
 export3file.pdf
คู่มือคู่มือบันทึกฯ เพื่อส่งออก 3 แฟ้ม
(101.78 KiB) ดาวน์โหลด 9991 ครั้ง


มีอะไรใหม่?

Web Service
1. ปรับปรุง Web Service Client provisWs1.01.jar และ provisclient.jar (PROVIS-CLIENT) เพื่อให้รองรับการเชื่อมโยงข้อมูล OP PP NCD

INPUT
1. แก้ไขการส่งออกแฟ้ม chronic.txt โดยเลือกส่ง วันที่วินิจฉัยครั้งแรก (datefirstdiag) จากเดิมส่งออกมาเป็นวันที่ติดตามครั้งล่าสุด(datedxfirst) และ office.txt ส่งหัวฟิลด์ off_id แทนที่ pcucode
2. (สำหรับทีมโปรแกรมเมอร์) รวมข้อมูลการนัดผู้ป่วยจากตารางเดิม(visitdiag) ไปไว้ในตารางการนัดผู้ป่วยตามดีไซน์ใหม่(visitdiagappoint) …ดำเนินการตอนสั่งออกรายงานการนัดผู้ป่วยโดยไม่ส่งออกใน Log file สำหรับ jhcis backup
3. (สำหรับทีมโปรแกรมเมอร์) ปรับปรุงคลาส MSQLConfigFrame.java (คลาสสำหรับการปรับแต่งประสิทธิภาพ MySQL) โดยให้ตรวจสอบก่อนว่ามีโฟลเดอร์ .\jhcis\MySQL-Config-Files\ และมีไฟล์ my*.ini หรือไม่ ? ถ้าไม่มี ? …จะไม่ทำการปรับแต่งประสิทธิภาพฯ ให้(เพราะไฟล์ my.ini เดิมจะถูกลบทิ้ง แต่จะไม่มีไฟล์ my.ini ตัวใหม่มาใช้ฯ (เพราะไม่มีโฟลเดอร์ \ไฟล์ ดังกล่าว))
4. ถ้ากำหนดรหัสวัคซีน(สำหรับรหัสวัคซีนJHCIS และรหัสสำหรับส่งออก 21 แฟ้ม) ไว้ไม่ถูกต้อง ? จะไม่สามารถบันทึกการรับวัคซีนได้ (ตรวจสอบรหัสมาตรฐานวัคซีนJHCIS และรหัสสำหรับส่งออก 21 แฟ้ม โดย)
5. แก้ไขการส่งออกแฟ้ม proced.txt ที่คอลัมภ์ รหัสผู้ให้บริการ(serv_per) โดยถ้ายังไม่กำหนดเลขบัตร ปชช. หรือเลข ว. แผนไทยฯ ไว้จะส่งค่าว่างออกไปในคอลัมภ์นี้(เดิมส่งเป็นคำว่า ‘ไม่ระบุฯ ในตาราง user’ ซึ่งบางเครื่องแม่ข่าย และบาง OS จะไม่สามารถนำเข้าในตาราง proced บนได้)
6. เพิ่มรายการรหัสเวชภัณฑ์คุมกำเนิด 7 รายการ เพื่อให้สามารถรับข้อมูลการวางแผนครอบครัวจากแฟ้ม fp.txt จากฐาน Provis เพื่อความครอบคลุมงานวางแผนครอบครัว ดังนี้
2.1 fp_1_no_brand = ยาเม็ด คุมกำเนิด(ไม่ระบุยี่ห้อ) ->>ค่าจาก fp.txt = 1
2.2 fp_2_no_brand = ยาฉีด คุมกำเนิด(ไม่ระบุยี่ห้อ) ->>ค่าจาก fp.txt = 2
2.3 fp_3_no_brand = ยาฝัง คุมกำเนิด(ไม่ระบุยี่ห้อ) ->>ค่าจาก fp.txt = 4
2.4 fp_4_no_brand = ห่วงอนามัย คุมกำเนิด(ไม่ระบุยี่ห้อ) ->>ค่าจาก fp.txt = 3
2.5 fp_5_no_brand = ถุงยางอนามัย(ไม่ระบุยี่ห้อ) ->>ค่าจาก fp.txt = 5
2.6 fp_6_no_brand = หมันชาย(coverate(fp.txt)) ->>ค่าจาก fp.txt = 6
2.7 fp_7_no_brand = หมันหญิง(coverate(fp.txt)) ->>ค่าจาก fp.txt = 7
7. (สำหรับทีมรายงาน) จากข้อ 2. อาจมีผลต่อการคิดรายงานวางแผนครอบครัวทั้งในเชิงผลงานและเชิงความครอบคลุมกรุณาตรวจสอบและปรับแก้รายงานที่เกี่ยวข้องด้วย(ถ้ามีฯ)
8. แก้ไขการส่งออกแฟ้ม office.txt ที่หัวคอลัมภ์ pcucode เป็น off_id
9. แก้ไขการบันทึกการตรวจเลือดในหญิงตั้งครรภ์(visitlabblood) ให้บันทึกได้โดยอิสระจากการตรวจครรภ์(ไม่จำเป็นต้องบันทึกพร้อมกับครั้งที่มาตรวจครรภ์)
10. แก้ไขการส่งออกแฟ้ม mch.txt ให้สอดคล้องกับข้อ 9. และสอดคล้องกับนิยามการดูแลแม่หลังคลอด ครั้งที่ 1.2.3
11. สามารถรับข้อมูลความครอบคลุมการวางแผนครอบครัวจากแฟ้ม fp (Provis Data Center) ได้

Output
1. แก้ไขรายงานใบสั่งยา จำนวน 4 รายงาน ( ตามขนาดของกระดาษรายงานฯ คือ DrugOrder ,DrugOrder_z ,DrugOrder_A4 ,
DrugOrder_A4_z ) โดยแก้ไขคำหน้าชื่อผู้ป่วย จากเดิมแสดงเป็นรหัสตัวเลข( เช่น 001 ,004 ,…) => ให้แสดงเป็นความหมายของคำหน้าชื่อ ( เช่น ด.ช. ,นางสาว ,… )
2.แกไขรายงานในข้อ 1. ให้แสดงราคาขายต่อหน่วย ของยาฯ ด้วย
3. แก้รหัสคำหน้าชื่อให้เป็นความหมายของคำหน้าชื่อ (เช่น 001สมพร => เด็กชายสมพร) สำหรับรายงานต่างๆ ดังนี้
- OPD Card ( opdcard_first )
- สอบถามข้อมูลประชากร ( rpersonlist )


ที่เมนู ปรับแต่งประสิทธิภาพ MySQL, เมื่อโปรแกรมตรวจสอบหน่วยความจำให้แล้ว, กรุณาเลือกหน่วยความจำไม่เกินที่เครื่องตนเองมี
- เมื่ออัพเดตแล้ว กรุณาปรับปรุงโครงสร้างข้อมูล, ใช้ user : usr_db เพื่อปรับปรุงโครงสร้างฐานข้อมูล
- เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดปัญหา out of memory ลองปรับแต่ง Java Control Panel ตามคู่มือ
หากมี RAM 1GB ขึ้นไป ลองปรับเป็น -Xms500m -Xmx600m โปรแกรมจะทำงานได้ต่อเนื่องดีมากขึ้น
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
[1 ตค. 54]





===============================================================================
ระบบบันทึกข้อมูล
===============================================================================
1. ปรับโครงสร้างตาราง ncd_person_ncd_screen เพื่อการส่งออกในแฟ้ม NCDSCREEN.txt
1.1 เพิ่มฟิลด์ ดังนี้
- visitno (int(11))
- dateupdate (date/time) ทั้งนี้โดยไม่ไปแก้ไข datatype ของฟิลด์ d_update (date) เดิมเนื่องจากอาจกระทบกับรายงานเดิม
- servplace (char(1)) 1= บริการในสถานบริการ 2=บริการนอกสถานบริการ
1.2 การบันทึกข้อมูลในเมนู "ระบบคัดกรองโรคติดต่อไม่เรื้อรัง" ทั้ง 3 ฟิลด์ดังกล่าวจะถูก update ค่าเมื่อมีการบันทึกข้อมูลดังกล่าว
เพื่อส่งออกในแฟ้ม NCDSCREEN.txt

2. ปรับโครงสร้างตาราง visit เพื่อส่งออกในแฟ้ม CHRONICFU.txt
2.1 เพิ่มฟิลด์ eyeopthalmoscope (การตรวจจอประสาทตาด้วย opthalmoscope)
2.2 บันทึกข้อมูลได้ที่ เมนูบริการ /คลิ้กที่ปุ่มฯ "NCD Screen & FU"

3. เพิ่มรหัสการตรวจแล็ป เพื่อใช้ส่งออกในแฟ้ม LABFU.txt
3.1 เพิ่มรหัสข้อมูล (ไม่ได้เพิ่มฟิลด์) โดยเพิ่มในตารางรหัสการตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่น (clabchcyhembmsse) อีก 2 รหัสคือ
- CHa1 = ตรวจโปรตีน albumin ในปัสสาวะ
- CHc1 = ตรวจ Creatinine ในปัสสาวะ
3.2 บันทึกข้อมูลเพื่อการส่งออก ได้ 2 จุดบนเมนูบริการคือ
3.2.1 ที่เมนูบริการ คลิ้กที่ปุ่ม "น้ำตาล" (กลางจอภาพ บน) โดยข้อมูลจะบันทึกลงตาราง visitlabsugarblood และได้ข้อมูลออกมาในแฟ้ม LABFU.txt ในคอลัมภ์ LABTEST (โดยจะได้รหัส 01 ,02 ,03 หรือ 04)
3.2.2 ที่เมนูบริการ คลิ้กเลือกแท็บ "ตรวจมะเร็ง & บริการอื่น" แล้วคลิ้กที่ปุ่ม "การตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่น (Trigriceride - ….)"
------โดยข้อมูลจะบันทึกลงตาราง visitlabchcyhembmsse
------ได้ข้อมูลออกมาในแฟ้ม LABFU.txt ในคอลัมภ์ LABTEST (รหัส 05 - 13) โดยรหัส 05 – 13 นี้จะอยู่ในกลุ่ม Lab Chemeclinic ( กลุ่ม Chemeclinic โดยรหัสแล็ป ขึ้นต้นด้วย CH )

4. ปรับเพิ่มการตรวจสอบของโปรแกรม
---เมื่อจบการทำงานและออกจากโปรแกรม หากพบว่ายังมีผู้รับบริการค้างอยู่ในคิวฯ โปรแกรมจะแจ้งเตือน และจะไม่ออกจากโปรแกรม
เพื่อให้ผู้ใช้กลับไปเรียกข้อมูลในคิวมาบันทึกให้เรียบร้อนก่อน
---แต่หากผู้ใช้ยืนยันต้องการออกจากโปรแกรม สามารถทำได้โดยที่คิวรอรับบริการเหล่านั้นจะยังไม่สมบูรณ์และจะไม่ถูกส่งออกไปในระบบ 18(21) แฟ้ม

5. บันทึกการตรวจแล็ปอื่นๆ (ยกเว้น DTX / FBS และการตรวจเลือดในหญิงตั้งครรภ์ (hct ,vdrl ,hiv ,hbag ,thalasemia))
สามารถบันทึกแบบความครอบคลุม ได้โดยไม่ต้องเข้าเมนูบริการ (การบันทึกแบบความครอบคลุมนี้ จะไม่เกิดเป็น service )
บันทึกได้ 2 จุดคือ
5.1 บันทึกที่เมนู "ค้นหาชื่อ" ก่อนเข้าหน้าบริการ โดยค้นหาชื่อ แล้วคลิ้กขวาที่ชื่อ /คลิ้กซ้าย ที่รายการ บันทึกความครอบคลุมการตรวจแล็ปอื่น
5.2 บันทึกที่เมนูบริการ เลือกแท็บ "ตรวจมะเร็ง & บริการอื่น" แล้วคลิ้กที่ปุ่มคำสั่ง การตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่น
(Triglyceride - Cholesterol,...CBC Test... W B C / Platelet / Platelet Count / Neutrophil /... etc.)
----ทั้งนี้การบันทึกแบบความครอบคลุมนี้จะไม่นับเป็น Service แต่จะช่วยให้ดูข้อมูลความครอบคลุมของการตรวจดังกล่าวได้
----แต่หากต้องการบันทึกให้ได้เป็นผลงาน (Service) จะต้องบันทึกผ่านเมนูบริการ เท่านั้น

6. รหัส 24 หลักของยาฯ (drugcode24)
หากผู้ใช้ฯ ยังมิได้กำหนดรหัส 24 หลักของยาฯ (drugcode24) แต่ได้กำหนดค่ารหัสยา(drugcode) ไว้เป็นรหัส 24 หลักแล้ว
โปรแกรมฯ จะ update ค่ารหัสยา 24 หลัก(drugcode24) ให้เท่ากับรหัสยา(drugcode)
ทั้งนี้เพื่อป้องกันการเข้าใจผิดของผู้ใช้จำนวนหนึ่ง->ที่เข้าใจว่า "การแก้ไขรหัสยาฯ (ค่าในคอลัมภ์แรก ของเมนูรหัสยา - เวชภัณฑ์)
ให้เท่ากับเลข 24 หลักแล้วหมายถีงการกำหนดเลข 24 หลักของยา"

===============================================================================
ระบบรายงาน
===============================================================================
----------------------------
รายงาน
----------------------------
1. เพิ่มปุ่ม "ส่งออกข้อมูลไปยัง JHCIS Report Datacenter (สสอ.)"
2. แก้ไข "รายงานนัด"

----------------------------
JHCIS Report Datacenter
----------------------------
โปรแกรมสำหรับให้สสจ./สสอ.ดูข้อมูลของ JHCIS แบบ Datacenter ซึ่งจะต้องมีการรวมฐานไว้แล้ว
จะติดตั้งโปรแกรมนี้ได้จะต้องมีการติดตั้งโปรแกรม JHCIS ไว้ก่อนและมีข้อมูลที่มีการรวมฐานไว้อยู่แล้ว
การติดตั้งให้ดาวน์โหลดโปรแกรม แล้วดับเบิลคลิกที่ไฟล์ที่ดาวน์โหลดมา (ทำเหมือนการอัพเดตเวอร์ชั่น)
หลังจากนนั้นจะได้ไฟล์ jhcis-datacenter.jar ที่ C:\Program Files\JHCIS\ เรียกใช้โดยการดับเบิลคลิกที่ไฟล์
หรือจะสร้าง shortcut ไว้ที่ desktop ก็ได้ค่ะ

- เพิ่มปุ่ม "นำเข้าข้อมูล" จากโปรแกรม JHCIS (รพ.สต.)
- เพิ่มปุ่ม "ส่งออกข้อมูล" เพื่อส่งไประดับจังหวัด (ฐานข้อมูล JHCIS)

===============================================================================
ระบบส่งออกข้อมูล
===============================================================================
1. ส่งออกวันที่ version ของ JHCIS ที่ผู้ใช้ฯ ใช้อยู่ ณ ขณะส่งออก 18(21) แฟ้ม ลงในแฟ้ม office.txt (เพิ่มอีก 1 คอลัมภ์ในแฟ้ม service.txt)
เพื่อให้จังหวัดฯ ตรวจสอบได้ว่า สถานบริการฯ ใช้โปรแกรม JHCIS เวอร์ชั่นใด
2. ส่งออก 21 แฟ้ม (เพิ่มอีก 3 แฟ้ม) ปี งปม. 2555 (ncdscreen.txt ,chronicfu.txt และ labfu.txt)
3. แก้แฟ้ม proced.txt ส่งเพิ่ม 1 ฟิลด์ท้าย: ผู้ให้บริการฯ ( serv_per )




[18 สค.54]





==========
ส่วนโครงสร้าง
==========

1. ปรับปรุงโครงสร้าง jhcisdb เพื่อให้รองรับระบบ NCD Data Center (Kalasin Model)

----------------------------
1. ตาราง ncdservice
----------------------------
ปรับตาราง visit เพิ่ม 7 ฟิลด์ ดังนี้
1- smokingyr int(unsign) //จำนวนครั้งการสูบบุหรี่/ปี (จำนวนเต็ม)
2- giveupsmoking char(1) // เคยแนะนำให้เลิกฯ1=เคย, 2=ไม่เคย
3- alcoholyr int(unsign) //จำนวนครั้งการดื่มสุรา/ปี (จำนวนเต็ม)
4- giveupalcoholyr int(unsign) //เคยแนะนำให้เลิกฯ1=เคย,2=ไม่เคย
5- examfoot chart(1) //ตรวจเท้า
(1=LOW RISK, 2=MODERATE RISK, 3=HIGHT RISK, 4=FOOT ULCER, 5=AMPUTATION)
6- exameyel char(1) //ตรวจตาซ้าย
(1=NO DR, 2=MILD NPDR, 3=MODERATE NPDR, 4=SEVERE NPDR, 5=CSME, 6=PDR)
7- exameyelr char(1) //ตรวจตาขวา
(1=NO DR, 2=MILD NPDR, 3=MODERATE NPDR, 4=SEVERE NPDR, 5=CSME, 6=PDR)
=>> การบันทึกข้อมูลลงในตาราง visit สำหรับ 7 ฟิลด์ ข้างต้น โดยบันทึกที่เมนูการให้บริการ ที่แทร็บ ข้อมูลเบื้องต้น โดยคลิ้กที่ ปุ่มคำสั่ง NCD Data Center
----------------------------
2. ตาราง ncdchronic
----------------------------
ปรับโครงสร้างตาราง personchronic เพิ่ม 2 ฟิลด์ ดังนี้
- chronicclinic char(5) =>รหัสฯ โดยทีม kalasin Model
- chronictype char(1) =>1:Principle Dx 2:Comorbidity
=>> การบันทึกข้อมูลลงในตาราง personchronic สำหรับ 2 ฟิลด์ ข้างต้น โดยบันทึกที่เมนูทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง /คลิ้กขวาที่รายการโรคเรื้อรังนั้นๆ /คลิ้กซ้ายที่รายการ บันทึกข้อมูล NCD Data Center
----------------------------
3. ตาราง ncdscreen
----------------------------
ปรับโครงสร้างตาราง ncd_person_ncd_screen เพิ่ม 4 ฟิลด์ ดังนี้
- smoke char(1) //ประวัติสูบบุหรี่
- alcohol char(1) //ประวัติการดื่มเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์
- htfamily char(1) //ประวัติความดันสูงในญาติสายตรง
- bstest char(1) //วิธีการตรวจน้ำตาลในเลือด
=>> การบันทึกข้อมูลลงในตาราง ncd_person_ncd_screen สำหรับ 4 ฟิลด์ ข้างต้น โดยบันทึกที่เมนู การคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยเริ่มที่เมนูหลัก คลิ้กที่ปุ่มคำสั่งระบบคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD).
----------------------
4. ตาราง ncdlab
----------------------
ปรับโครงสร้างตาราง clabchcyhembmsse โดยเพิ่ม 4 ฟิลด์ ดังนี้
- labmappingaccctdept char(7) คือรหัส lab ของกรม บ/ช กลาง
- narmalrange varchar(20) คือค่าปกติของผลการตรวจวิเคราะห์ของแต่ละ
ห้องปฏิบัติการ เช่น Glucose Hexo. ค่าปกติ 70-110 mg/dl
- labunit char(30) คือหน่วยวัดที่ใช้ในการตรวจ เช่น mg% mmol/L
- labprice decimal(7,2) คือราคาค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ หากไม่มี ใส่ 0.00
=>> การบันทึกข้อมูลลงในตาราง clabchcyhembmsse สำหรับ 4 ฟิลด์ ข้างต้น โดยบันทึกที่เมนู รหัสการตรวจแล็ป
=>> การบันทึกข้อมูลการตรวจแล็ปลงในตาราง visitlabchcyhembmsse โดยบันทึกที่เมนู รหัสการให้บริการ /คลิ้กที่แทร็บ ตรวจมะเร็ง & บริการอื่น /คลิ้กที่ปุ่มคำสั่ง การตรวจทางห้องปฎิบัติการอื่น( Trigle ………)

------------------------------------------------------
การส่งออก
------------------------------------------------------
1. คนที่ visit ถูกลบทิ้ง(flagservice = ‘99’) จะไม่ถูกส่งออกไปในแฟ้ม service
2. ส่งออก 18 แฟ้ม เฉพาะที่มีการแก้ไขในช่วงวันที่ ที่ระบุฯ(โดยจะรวมข้อมูลที่ให้บริการในช่วงวันที่ นั้นไปด้วย) [ !...ณ เวอร์ชั่น 1 สค 54 จะส่งออกที่แก้ไขเฉพาะในส่วน OP Package เท่านั้น ในส่วน PP Package จะเร่งดำเนินการให้ภายในสัปดาห์เดียวกันนี้]
3. ตาราง visitlabsugarblood เพิ่มฟิลด์ typetesting char(1) : วีธีการตรวจน้ำตาล (1: DTX(หลอดเลือดฝอย), 2:FBS(หลอดเลือดดำ))
4. ปรับปรุงการส่งออกเฉพาะที่แก้ไข (ตามช่วงเวลาที่ระบุฯ) สำหรับแฟ้ม anc.txt ,epi.txt และ fp.txt (แฟ้ม )

------------------------------------------------------
การบันทึกข้อมูล
------------------------------------------------------
1. สามารถสั่งเลื่อนชั้นเรียน ขึ้นหรือลง 1 ชั้นเรียน เฉพาะโรงเรียนและชั้นเรียน ที่ระบุเท่านั้น ได้ ( เพื่อแก้ปัญหานักเรียนชั้นอนุบาล 2 ของโรงเรียนรัฐบาล ที่เมื่อเลื่อนชั้นเรียนแล้วไปอยู่ที่ชั้น อนุบาล 3 แทนที่จะเป็น ป. 1 )
2. การเลือกบันทึกการจ่ายยาฯ ตามยาฯ ที่ใช้ประจำบ่อยๆ จะสามารถระบุ จนท. ผู้สั่งจ่ายฯ(โดยใช้ค่าจาก user ที่ Login เป็นค่าของ ผู้สั่งจ่ายยาฯ)
3. เพิ่มประเภท จนท.(user) => 07:ผู้ช่วยทันตแพทย์(มีหลักสูตรการเรียน และตำแหน่งนี้เลยในสายการทำงาน)
4.ช่องรายการ ทันตแพทย์ฯ (ในเมนูผู้ให้บริการทันตกรรม ) ...ให้เลือกได้จาก จนท. ประเภทที่เป็นทันตแพทย์หรือทันตาภิบาล เท่านั้น
5.ช่องรายการ ผู้ช่วยฯ (ในเมนูผู้ให้บริการทันตกรรม ) ...ให้เปิดให้เลือกได้จาก จนท. ทุกประเภท
6. อนามัยนักเรียน ตรวจทันตกรรม ให้ได้ diag => Z01.2
7. บันทึก จนท. ผู้จ่ายยาฯ ที่จ่ายฯ จากยาฯ ที่ใช้บ่อยๆ ได้แล้ว
8. เพิ่มรหัส การให้คำปรึกษา / สุขศึกษา อีก 2 รายการ
07 = ให้คำปรึกษาเรื่องการบริโภคอาหาร
08 = สอนการแปรงฟัน
9. ปรับเมนูบันทึกข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ให้สามารถบันทึกข้อมูลได้
10. ออกใบรับรองแพทย์ แบบไม่ป่วยฯ ได้ (เพื่อสมัครงาน ,ทำใบอนุญาตขับขี่ฯ ,ศึกษาต่อ , …) ได้
11. เพิ่มประเภท จนท.(user) => 08:แพทย์แผนไทย (มีหลักสูตรการเรียน และตำแหน่งนี้เลยในสายการทำงาน) และจนท. ประเภทนี้จะสามารถวินิจฉัยโรคแผนไทย ( รหัส U ) ได้
12. สามารถเปลี่ยนสถานที่รับบริการวัคซีน dtANC ในเมนูการรับ dtANC ในหญิงตั้งครรภ์ ที่บันทึกผ่านเมนู ความครอบคลุม ANC ได้
13. สามารถบันทึกว่ายาฯ รายการใดเป็นยาในฯ หรือยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ ได้โดยคลิ้กขวาที่เมนูรหัสยา –เวชภัณฑ์ /แล้วคลิ้กซ้าย ที่รายการ Unit Packing(ขนาดบรรจุต่อหน่วยนับ) และการกำหนดบัญชียาหลักแห่งชาติ
14. กำหนดมูลค่าฯ เบิกได้สำหรับยา –เวชภัณฑ์ ได้โดยคลิ้กขวาที่ตารางรหัสยา –เวชภัณฑ์ /คลิ้กซ้ายที่รายการ กำหนดราคาขาย / ทุน / มูลค่าเบิกได้ / คลิ้กซ้าย ที่รายการ แสดงมูลค่าจำนวนเงินที่เบิกได้
15. สามารถกำหนดการนัดผู้ป่วย ( 1 โรคใดๆ ) ให้นัดได้มากกว่า 1 วันและพิมพ์ใบนัด ได้ โดยดำเนินการที่เมนูการวินิจฉัยโรค (คลิ้กฯ ที่ช่องรายการ วันนัด / แล้วดำเนินการบันทึกข้อมูลการนัดให้ครบถ้วน /เมื่อต้องการพิมพ์ใบนัด ให้คลิ้กฯ ปุ่มคำสั่ง พิมพ์ใบนัด)
16. ที่ส่วนบันทึก EPI บนเมนู เด็ก 0-72 เดือน ชั่งน้ำหนัก ,รับวัคซีน ,ตรวจพัฒนาการ ซึ่งเป็นการบันทึกในรูปแบบความครอบคลุม epi นั้น โปรแกรมฯ จะแจ้งเตือนว่าการบันทึกฯ แบบดังกล่าวนี้จะไม่นับเป็น service ให้แม้ว่าผู้ใช้จะเลือกสถานบริการที่รับวัคซีน เป็นสถานบริการนี้ ก็ตาม โดยหากต้องการให้ได้ service ด้วยจะต้องไปบันทึก epi ในเมนูการให้บริการเท่านั้น(โดยเมื่อมีการให้บริการ epi ก็ควรบันทึกข้อมูลทันทีหรือไม่เกิน 1-2 วันหลังให้บริการ)

------------------------------------------------------
รายงาน
------------------------------------------------------
1. แก้ไขรายงาน ทะเบียนประชากรจำแนกตามกลุ่มอายุ / (รายชื่อประชากร) ค้นหาตามช่วง
วันเกิดที่ระบุ (rpersonage_list.jrxml) => ตัดรายชื่อผู้เสียชีวิต ออกจากรายงาน แล้ว
2. แก้ไขรายงาน ใบรับรองแพทย์ (MedicalCertify.jrxml ) สามารถพรีวิว /พิมพ์ได้ตามปกติ
3. แก้รายงานใบนัด (error เดิมคือ บางเหตุผลการนัด ไม่แสดงฯ และชื่อผู้นัดฯ ไม่แสดงฯ)
4. แก้ไขรายงานต่อไปนี้
- MedicalCertify.jasper แก้คำหน้าชื่อแพทย์ /จนท.
- MedCertificate2.jasper แก้คำหน้าชื่อแพทย์ /จนท.
- patient_card_sub_header2rows.jasper รวม ต. อ. จ.
- opdcard_first.jasper เพิ่มเบอร์โทร ผู้ป่วย
5. ทำเพิ่มรายงานใบรับรองแพทย์แบบสุขภาพแข็งแรง(ไม่ป่วย)
->MedCertificate2_Strong.jasper ออกรายงานที่จุดเดียวกับออกใบรับรองแพทย์(แบบป่วย)
ไฟล์แนป
 jhcis-server_update_2.2.20120820.45.exe
jhcis-server_update_2.2.20120820.45
(86.21 MiB) ดาวน์โหลด 13743 ครั้ง
 jhcis-client-update-2.2.20120820.45.exe
jhcis-client-update-2.2.20120820.45
(59.6 MiB) ดาวน์โหลด 10878 ครั้ง
ภาพประจำตัวสมาชิก
jhcis
โพสต์: 268
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ก.ย. 2008 11:36

โรค 506 ที่รักษาต่อเนื่อง จะ Diag ให้เป็น 506 ทุกครั้งหรือไม

โพสต์โดย suchada » 19 ก.ค. 2012 17:59
เรียน ท่านอาจารย์
อยากเรียนถามเกี่ยวกับโรคที่เป็นรายงาน 506 คือ วัณโรคปอดที่แพทย์สั่งฉีดยาต่อเนื่อง มาพบครั้งแรก Diag TB และ ในครั้งต่อไป จะ Diag ว่าโรคอะไร เพราะถ้าเป็น TB มันจะขึ้นเป็น 506 ทุกครั้งขอความกระจ่างค่ะ ขอบคุณมากค่ะ :oops:
suchada
โพสต์: 8
ลงทะเบียนเมื่อ: 19 ม.ค. 2011 12:01

Re: ดาวน์โหลด ชุดอัพเดท J H C I S (20 สค. 55)

โพสต์โดย npppampam5821 » 21 ส.ค. 2012 17:17
แพทย์แผนไทยวินิจฉัย รหัส m ได้ แต่ รหัส u ไม่ได้ครับ
npppampam5821
โพสต์: 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 ส.ค. 2011 07:41

Re: ดาวน์โหลด ชุดอัพเดท J H C I S (20 สค. 55)

โพสต์โดย sutin » 22 ส.ค. 2012 05:37
แก้ไข วินิจฉัยแพทย์แผนไทยไม่ได้ ให้นำ ICD10 ชุดใหม่นี้ไปนำเข้าแทนครับ ขออภัยในความไม่สะดวก
ไฟล์แนป
 icd10.zip
icd10
(1.42 MiB) ดาวน์โหลด 2047 ครั้ง
sutin
โพสต์: 39
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2008 18:15
  

  

ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 2 คุณ